Info

ขอแสดงความยินดีกับ ดร.กาญจน์นัฐฐา ไชยศรียา อาจารย์ประจำหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกมได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย Scopus Q1 ในวารสาร : Contemporary Educational Technology

ขอแสดงความยินดีกับ ดร.กาญจน์นัฐฐา ไชยศรียา อาจารย์ประจำหลักสูตรเทคโลโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกมได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย Scopus Q1 ในวารสาร : Contemporary Educational Technology
ขอแสดงความยินดีกับ ดร.กาญจน์นัฐฐา ไชยศรียา อาจารย์ประจำหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกมได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย Scopus Q1 ในวารสาร : Contemporary Educational Technology

หลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกมขอแสดงความยินดีกับกับ ดร.กาญจน์นัฐฐา ไชยศรียา ตีพิมพ์บทความวิจัย Scopus Q1 ในวารสาร : Contemporary Educational Technology

สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกม สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ ขอแสดงความยินดีกับ ดร.ดร.กาญจน์นัฐฐา ไชยศรียา อาจารย์ประจำหลักเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกม ในโอกาสได้ตอบรับการตีพิมพ์บทความวิจัย เรื่อง The effects of integrating digital storytelling with metacognition strategies (DSTMC) learning model to enhance communication abilities ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ Communication skills are soft skills critical for students’ development in educational institutions in the digital age. This study aims to determine the feasibility and practicality of a learning model, which combines digital storytelling with a metacognitive strategy called the DSTMC model. This learning model utilized digital storytelling as a primary learning step and integrated metacognitive strategies to monitor the thinking process to improve students’ communication, such as listening, speaking, reading, writing, and presentation skills. The research was conducted through case studies at a regional, southern Thailand university. The data were collected from 30 undergraduate participants. The research instruments were expert validation, pre-/post-test data, and a self-assessment questionnaire. The study showed that the DSTMC learning model is an alternative teaching method to improve communication skills, including listening, speaking, reading, and writing. The results of students’ test scores and self-assessments provide significant evidence indicating that it increases their learning and retention of information. The paper concludes with suggestions for using various strategies and motivating activities to encourage learners’ communication proficiency. Future research should investigate the creation of a system to track how learners improve their communication skills.
จากการได้รับการตีพิมพ์ในครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงความเชี่ยวชาญและคุณภาพของอาจารย์ในหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกม นอกจากนั้นในขณะยังมีผลงานวิจัยอีกหลายชิ้นของอาจารย์ในหลักสูตรฯที่อยู่ในขั้นของการรอการตอบรับการตีพิมพ์ ทางหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลงานวิจัยของพวกเราจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น

Facebook Comments Box
Scroll to Top