Info

ขอแสดงความยินดีกับ ดร.วิทยา หอทรัพย์, ผศ.ดร.เชาวนันท์  ขุนดำ, อาจารย์ ปฏิบัติ  ปรียาวงศากุล, ผศ.ดร.วรัญญู  วรชาติ อาจารย์ประจำหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกมได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย Scopus Q1 ในวารสาร : MDPI Informatics

ขอแสดงความยินดีกับ ดร.วิทยา หอทรัพย์, ผศ.ดร.เชาวนันท์ ขุนดำ, อาจารย์ ปฏิบัติ ปรียาวงศากุล, ผศ.ดร.วรัญญู วรชาติ อาจารย์ประจำหลักสูตรเทคโลโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกมได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย Scopus Q1 ในวารสาร : MDPI Informatics
ขอแสดงความยินดีกับ ดร.วิทยา หอทรัพย์, ผศ.ดร.เชาวนันท์ ขุนดำ, อาจารย์ ปฏิบัติ ปรียาวงศากุล, ผศ.ดร.วรัญญู วรชาติ อาจารย์ประจำหลักสูตรเทคโลโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกมได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย Scopus Q1 ในวารสาร : MDPI Informatics

หลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกมขอแสดงความยินดีกับ ดร.วิทยา หอทรัพย์, ผศ.ดร.เชาวนันท์  ขุนดำ, อาจารย์ ปฏิบัติ  ปรียาวงศากุล, ผศ.ดร.วรัญญู  วรชาติ อาจารย์ประจำหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกมได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย Scopus Q1 ในวารสาร : MDPI Informatics

สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกม สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์ประจำหลักเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกม ในโอกาสได้ตอบรับการตีพิมพ์บทความวิจัย เรื่อง The Influence of Light and Color in Digital Paintings of Environmental Issues on Emotions and Cognitions มีเนื้อหาเกี่ยวกับThis study aimed to examine the use of light and color in digital paintings and their effect on audiences’ perceptions of environmental issues. Five digital paintings depicting environmental issues have been designed. Digital painting techniques created black-and-white, monochrome, and color images. Each image used utopian and dystopian visualization concepts to communicate hope and despair. In the experiment, 225 volunteers representing students in colleges were separated into three independent groups: the first group was offered black-and-white images, the second group was offered monochromatic images, and the third group was offered color images. After viewing each image, participants were asked to complete questionnaires about their emotions and cognitions regarding environmental issues, including identifying hope and despair and the artist’s perspective at the end. The analysis showed no differences in emotions and cognitions among participants. However, monochromatic images were the most emotionally expressive. The results indicated that the surrounding atmosphere of the images created despair, whereas objects inspired hope. Artists should emphasize the composition of the atmosphere and the objects in the image to convey the concepts of utopia and dystopia to raise awareness of environmental issues.

จากการได้รับการตีพิมพ์ในครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงความเชี่ยวชาญและคุณภาพของอาจารย์ในหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกม นอกจากนั้นในขณะยังมีผลงานวิจัยอีกหลายชิ้นของอาจารย์ในหลักสูตรฯที่อยู่ในขั้นของการรอการตอบรับการตีพิมพ์ ทางหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลงานวิจัยของพวกเราจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น

Facebook Comments Box