เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 หลักสูตรเทคโนโลยีดิจิทัลทางการแพทย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้นำนักศึกษาชั้นปีที่ 2 เข้าร่วมกิจกรรมบรรยายทางวิชาการในหัวข้อ “ทิศทางอนาคตของปัญญาประดิษฐ์ในการดูแลสุขภาพ” ณ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2567 ก่อนการประชุมบริหารมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ครั้งที่ 9/2567 ณ ห้องประชุมช่อประดู่ ชั้น 4 อาคารโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้มอบช่อดอกไม้แสดงความยินดีแก่ นักศึกษาและบุคลากรสำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ ที่สร้างชื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัย
เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2567 ที่ผ่านมา นักศึกษาชั้นปีที่ 4 หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้จัดกิจกรรม นำเสนอสหกิจศึกษา ณ ห้องปฏิบัติการการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (ห้อง 145)
ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศอัจฉริยะ สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้จัดกิจกรรมดูงานสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 โดยนำคณะนักศึกษาไปเยี่ยมชมและเรียนรู้จากองค์กรชั้นนำในด้านเทคโนโลยี ได้แก่
ขอแสดงความยินดีกับ นายวฤษฏ์ ชนะภัย นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ที่สามารถคว้ารางวัล Googleyness ในโครงการ Google Data Center Hardware Hackathon ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2567
ระหว่างวันที่ 29 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน 2567 ที่ผ่านมา หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้งานโปรแกรม Tableau สำหรับอาจารย์ในสาขา โดยมี อาจารย์ยงยุทธ ลิขิตพัฒนะกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นวิทยากรที่มาถ่ายทอดเทคนิคการใช้งาน
เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2567 สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้เดินทางไปจัดกิจกรรมแนะแนวการศึกษา ณ โรงเรียนกันตังพิทยากร จังหวัดตรัง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแนะนำหลักสูตรและโอกาสทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พร้อมทั้งสร้างแรงบันดาลใจให้แก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในการเตรียมตัวเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา
บทความวิจัยได้รับการตอบรับตีพิมพ์ในวารสาร Emerging Science Journal (Scopus Q1 , 85 Percentile) เรื่อง “Using Motion-Graphic Media to Educate Higher Education Students About Depression: A Randomized Controlled Trial”
การเตรียมความพร้อมเพื่อช่วยชีวิตเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในสถานการณ์ฉุกเฉิน และในยุคที่เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวัน แอปพลิเคชั่นเพื่อการฝึก CPR ได้เข้ามาช่วยเสริมสร้างทักษะการช่วยชีวิตแบบใหม่ที่ทำให้ผู้เรียนสามารถฝึกฝนได้อย่างสนุกสนานและมีประสิทธิภาพ
บทความวิจัยได้รับการตอบรับตีพิมพ์ในวารสาร IEEE Access (Scopus Q1 , 92nd Percentile + International Collaboration) “EEG-Based Brain-Computer Interface Using Visual Flicker Imagination for Assistive Communication System”