“การพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์สู่จักรวาลนฤมิตร (AI-MHT)”

หลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกม สำนักวิชาสารสนเทศาสตร์ได้มีการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

“การพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์สู่จักรวาลนฤมิตร (AI-MHT)”
“การพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์สู่จักรวาลนฤมิตร (AI-MHT)”

       หลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกมขอแสดงความยินดีกับ ดร.วิทยา หอทรัพย์, ผศ.ดร.เชาวนันท์  ขุนดำ, อาจารย์ ปฏิบัติ  ปรียาวงศากุล, ผศ.ดร.วรัญญู  วรชาติ อาจารย์ประจำหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกมได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย Scopus Q1 ในวารสาร : MDPI Informatics สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกม สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์ประจำหลักเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกม ในโอกาสได้ตอบรับการตีพิมพ์บทความวิจัย เรื่อง The Influence of Light and Color in Digital Paintings of Environmental Issues on Emotions and Cognitions มีเนื้อหาเกี่ยวกับThis study aimed to examine the use of light and color in digital paintings and their effect on audiences’ perceptions of environmental issues. Five digital painti วันอังคารที่ 13 มิถุนายน พ.ศ.2566 มหาวิทยาลัยลักษณ์ โดยการดำเนินงานของหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดีย แอนิเมชัน และเกม  สำนักวิชาสารสนเทศาสตร์ได้มีการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่าง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา กับ สมาคมปัญญาประดิษฐ์ประเทศไทย

 เพื่อร่วมดำเนินการวิจัยและพัฒนาโครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์สู่จักรวาลนฤมิตร (AI-MHT)” ซึ่งได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยโดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2565โดยมี ศาสตราจารย์ ดร. วรรณา ชูฤทธิ์ รักษาการแทนรองอธิการบดี  ปฏิบัติหน้าที่แทนรักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นผู้ลงนาม และมีผู้ร่วมเป็นสักขีพยานในการลงนามได้แก่ รศ.ดร.พูลพงษ์ บุญพราหมณ์ รักษาการแทนคณบดีสำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณาจารย์ผู้ดำเนินการวิจัยจากหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดีย แอนิเมชัน และเกม ได้แก่ อาจารย์ ดร.พรพล ธรรมรงค์รัตน์ หัวหน้าโครงการย่อย อาจารย์ ดร.กาญจน์นัฐฐา ไชยศรียา อาจารย์ ดร.ศศิธร รัตนรุ่งโรจน์ และ อาจารย์ปฏิบัติ ปรียาวงศากุล การเข้าร่วมขับเคลื่อนกิจกรรมด้านปัญญาประดิษฐ์ผ่านเกมออนไลน์เพื่องานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ เป็นแนวทางที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ในการวิจัยด้านประวัติศาสตร์ ปัญญาประดิษฐ์และเกม โดยเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูงในการสร้างประสบการณ์ที่สนุกสนานและน่าสนใจแก่ผู้เล่น โครงการวิจัย “เกมออนไลน์สนับสนุนการท่องเที่ยวในชุมชนประวัติศาสตร์สุวรรณภูมิ” เป็นการสร้างความรู้ใหม่โดยใช้แนวคิดและเทคนิคการพัฒนาเกมสำหรับประวัติศาสตร์ โดยการวิจัยและพัฒนาเกมออนไลน์ในด้านประวัติศาสตร์จะมีประโยชน์ในการแบ่งปันความรู้ และความเชี่ยวชาญระหว่างหน่วยงาน พัฒนาทักษะปัญญาประดิษฐ์ สร้างความร่วมมือ และเพิ่มโอกาสในการสร้างผลงานที่มีคุณค่าและสร้างผลกระทบต่อวงกว้างในวงการ

       ngs depicting environmental issues have been designed. Digital painting techniques created black-and-white, monochrome, and color images. Each image used utopian and dystopian visualization concepts to communicate hope and despair. In the experiment, 225 volunteers representing students in colleges were separated into three independent groups: the first group was offered black-and-white images, the second group was offered monochromatic images, and the third group was offered color images. After viewing each image, participants were asked to complete questionnaires about their emotions and cognitions regarding environmental issues, including identifying hope and despair and the artist’s perspective at the end. The analysis showed no differences in emotions and cognitions among participants. However, monochromatic images were the most emotionally expressive. The results indicated that the surrounding atmosphere of the images created despair, whereas objects inspired hope. Artists should emphasize the composition of the atmosphere and the objects in the image to convey the concepts of utopia and dystopia to raise awareness of environmental issues.

จากการได้รับการตีพิมพ์ในครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงความเชี่ยวชาญและคุณภาพของอาจารย์ในหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกม นอกจากนั้นในขณะยังมีผลงานวิจัยอีกหลายชิ้นของอาจารย์ในหลักสูตรฯที่อยู่ในขั้นของการรอการตอบรับการตีพิมพ์ ทางหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียแอนิเมชันและเกม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลงานวิจัยของพวกเราจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น

แกลเลอรี่

ข่าวสารอื่นๆ